PMC Expert | pmc-admin
3
archive,author,author-pmc-admin,author-3,ajax_fade,page_not_loaded,,qode_grid_1300,footer_responsive_adv,qode-child-theme-ver-1.0.0,qode-theme-ver-11.0,qode-theme-bridge,wpb-js-composer js-comp-ver-5.1.1,vc_responsive

Author: pmc-admin

PPM  ต่างกับ  DPPM  อย่างไร? PPM (ส่วนต่อล้านส่วน) และ DPPM (ข้อบกพร่องต่อล้านส่วน) เป็นหน่วยวัดที่ใช้เพื่อระบุสัดส่วนของสารหรือข้อบกพร่อง อย่างไรก็ตาม โดยทั่วไปจะใช้ในบริบทที่แตกต่างกัน: 1 PPM (ส่วนต่อล้านส่วน): PPM เป็นหน่วยวัดความเข้มข้น ซึ่งแสดงจำนวนส่วนของสารต่อล้านส่วนของทั้งหมด มักใช้ในสาขาต่างๆ เช่น เคมี วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และการผลิต เพื่อระบุความเข้มข้นของสารเฉพาะในส่วนผสมหรือสารละลาย ตัวอย่างเช่น หากสารละลายมีสาร 1 ส่วนต่อล้านส่วนของสารละลาย จะแสดงเป็น 1 PPM 2 DPPM (ข้อบกพร่องต่อล้านส่วน): ในทางกลับกัน DPPM เป็นหน่วยวัดที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพและการผลิตเพื่อระบุจำนวนข้อบกพร่องหรือข้อบกพร่องต่อล้านส่วน เป็นหน่วยวัดที่ใช้เพื่อประเมินคุณภาพของผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการ โดยค่า DPPM ที่ต่ำกว่าบ่งชี้คุณภาพที่สูงกว่า ตัวอย่างเช่น หากกระบวนการผลิต ผลิตชิ้นส่วนที่มีข้อบกพร่อง 3 ชิ้นจากชิ้นส่วนที่ผลิตได้ 1 ล้านชิ้น ชิ้นส่วนดังกล่าวจะแสดงเป็น 3 DPPM สรุปได้ว่า แม้ว่าทั้ง...

ห้องปฏิบัติการสะอาด (Clean room) เดือนที่ผ่านมาได้มีโอกาสไปตรวจโรงงาน Semiconductor, โรงงานผลิตชิ้นส่วนสำหรับชิ้นส่วน Hard disk ซึ่งมีการควบคุมพื้นทำงานที่ ห้อง Clean room Class 1,000 สำหรับเดือนนี้ตรวจโรงงานชิ้นส่วนอิเล็คโทรนิคสำหรับยานยนต์ ซึ่งมีการควบคุมพื้นทำงาน ห้อง Clean room Class 10,000 เคยสงสัยหรือเปล่าแล้ว Class 1,000 หรือ 100,000 หมายความว่ายังไง? ___________________________________________________________ ห้องปฏิบัติการสะอาด (Clean room) ห้อง Clean room หมายถึง ห้องสะอาดที่มีการควบคุมปริมาณอนุภาค ฝุ่นละอองและสิ่งปนเปื้อนต่างๆให้มีไม่เกินระดับที่กำหนดไว้ นอกจากนั้นยังรวมไปถึงการควบคุมปัจจัยเสริมต่างๆ ได้แก่ คุณลักษณะและความเร็วของลม อุณหภูมิ แรงดัน และระดับความชื้นสัมพัทธ์ภายในห้อง อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับ Clean room ได้แก่ อุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมด้านเทคโนโลยีชีวภาพ ตลอดจนถึงอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเครื่องจักรกลที่มีความละเอียดในการทำงานสูง...

หลักสูตร :  VDA 6.3 Process audit Course (4th Revised Edition January 2023)   ระยะเวลา:                           อบรม  2  วัน   วัตถุประสงค์:                       VDA 6.3 เป็นกระบวนการตรวจประเมินกระบวนการอ้างอิงจากมาตรฐานสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ที่มาจากเยอรมัน ใช้ในการตรวจประเมินกระบวนการทั้งผลิตและบริการ โดยมีกระบวนการและรายการตรวจประเมินตามกระบวนการที่กำหนดขึ้นตามแบบฟอร์มการตรวจประเมิน เพื่อให้มั่นใจกระบวนการจัดการด้านคุณภาพ หรือระบบคุณภาพได้รับการทวนสอบ นำไปสู่การปรับปรุงผลิตภัณฑ์ และกระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่อง   ผู้เข้ารับการอบรมจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับคำถามต่างๆ การตั้งคำถาม การ Audit  เพื่อเก็บข้อมูลจากในแบบ Form VDA6.3 นอกจากอบรมแล้ว ยังได้เรียนรู้ผ่าน  Work shop  ซึ่งเหมือนกับสถานะการจริงในการตรวจประเมิน เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจวิธีการตรวจประเมินได้อย่างถูกต้องผ่านการทำ  Work shop  ในแต่ละกระบวนการ   ผู้ที่ควรเข้ารับการอบรม:     หลักสูตรนี้จัดทำขึ้นสำหรับผู้ตรวจประเมินภายในขององค์กร QMR ผู้จัดการ วิศวกรขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับระบบ VDA 6.3   ส่วนสำคัญของหลักสูตร:      ...

Training: Advance Product Quality Planning (APQP) (3rd Edition) การวางแผนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ล่วงหน้า       ระยะเวลา :                            1 วัน   จุดประสงค์:                          หลักสูตรเป็นการอธิบายกระบวนการ APQP และการประยุกต์ใช้กระบวนการ APQP ตามความต้องการของลูกค้า รวมถึงการพัฒนาทีม APQP     ผู้เข้าร่วมอบรม:              ผู้จัดการ หัวหน้างาน วิศวกร และช่างเทคนิคที่มีหน้าที่รับผิดชอบสำหรับการจัดทำชิ้นส่วนใหม่หรือดัดแปลงชิ้นส่วนหรือกระบวนการผลิต และการขออนุมัติจากลูกค้า   เนื้อหาหลักสูตร:         ภาพรวมและประโยชน์ของกระบวนการ APQP วิธีสร้างขั้นตอนการวางแผน APQP วิธีดำเนินการและสร้างเอกสารในระหว่างขั้นตอนการวางแผนพัฒนาผลิตภัณฑ์ วิธีดำเนินการและสร้างเอกสารในระหว่างกระบวนการและขั้นตอนการพัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการ ทำความเข้าใจและดำเนินการขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้องของผลิตภัณฑ์และกระบวนการ เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการการเปลี่ยนแปลง การวางแผนกำลังการผลิต โปรแกรมเมทริกซ์ ความคาดหวังและแนวทางสำหรับ Gated Management การคัดเลือกผู้ขาย (Sourcing) , การประเมินผู้ขายที่มีความเสี่ยงสูง การวางแผนกำลังการผลิตโดยใช้ OEE การสอบย้อนกลับ การป้องกันความผิดพลาด...

แผนควบคุม (Control Plan) 1st Edition   แผนควบคุม (Control Plan) 1st Edition ระยะเวลาอบรม :                       1 วัน วัตถุประสงค์:                             เพื่อให้ผู้ฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาแผนควบคุม (Control Plan) กลุ่มเป้าหมาย :                        ผู้จัดการ หัวหน้างาน วิศวกร หรือ...

Pass Through Characteristics (PTC) “ส่งผ่านคุณลักษณะ” ชิ้นส่วนที่ผลิตจาก Supplier (Tier2) และส่งงานให้กับ Tier1 ซึ่งในงานนั้นมีบางจุดคุณลักษณะที่ทาง “tier 1” ไม่ได้ใช้ในระหว่างกระบวนการ แต่ถูกใช้โดย OEM ดังนั้น หากมีปัญหาด้านคุณภาพจากซัพพลายเออร์ “Tier 2” ปัญหาจะถูกตรวจพบเฉพาะใน OEM.   ตัวอย่างในรูป Supplier ทำเฟรมเหล็กส่งให้ Tier1, Tier1 ประกอบเครื่องเสียงลงไปในช่องของตัวเฟรม, หลังจากนั้นชุดเครื่องเสียงถูกส่งไป OEM เพื่อไปประกอบกับตัวรถโดยใช้สกรูยึดที่ตำแหน่งสี่รูของเฟรมเหล็กเข้ากับคอนโซลหน้ารถ สำหรับ รูทั้งสี่รูทาง Tier1 ไม่ได้มีการทดสอบหรือตรวจสอบ หรือใช้งานที่ Tier1. ลักษณะดังกล่าว  ถือว่ารูทั้งสี่รู เป็น  Pass Through Characteristics (PTC)...

Control Plan 1st Edition. การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญในแผนการควบคุม* คืออะไร • ชี้แจงลิงก์ไปยังกระบวนการ APQP, Living Document • ชี้แจงข้อกำหนด (หัวข้อจากบทเรียนที่ได้เรียนรู้และข้อกำหนดเฉพาะของลูกค้า) • ให้คำแนะนำโดยละเอียดถึงวิธีการพัฒนา ไม่ใช่แค่แบบฟอร์มในฟิลด์ • เพิ่มข้อกำหนด "การเปิดตัวอย่างปลอดภัย" ในขั้นตอนแผนการควบคุม • รวมการใช้คำแนะนำแผนการควบคุมอย่างมีประสิทธิผลตามแนวทางปฏิบัติขององค์กรที่เป็นเลิศ Control Plan 1st Edition. What are the major changes to Control Plan*? • Clarify link to APQP processes, Living Document • Clarify Requirements (topics from lessons learned and Customer Specific Requirements) • Provides...

Robotic Process Automation (RPA) วันก่อนไป Audit บริษัททำกระทะที่นิคมแหลมฉบัง สิ่งที่ประทับใจมากคือที่บริษัทนี้จะให้ตั้งแต่ระดับวิศวกร ไปถึง ระดับผู้จัดการต้องทำ Project RPA ทุกคน. ก็เลยถามน้องที่ติดตาม Auditor ว่าทำProject อะไร น้องเป็น Engineer ใหม่ดูแลเรื่องสิ่งแวดล้อม ก็เลยเขียน Program เกี่ยวกับการส่ง Aspect ให้กับแต่ละแผนกอัตโนมัติตามแผนที่วางไว้ในแต่ละแผนก เพื่อให้แต่ละแผนกทำการทบทวน Aspect ให้เป็นปัจจุบัน เป็นต้นแล้ว RPA คืออะไร????? RPA คือ ซอฟต์แวร์โรบอทที่เลียนแบบพฤติกรรมของมนุษย์ โดยที่มนุษย์เป็นผู้ออกแบบกระบวนการ (Process) และขั้นตอน (Workflow) การตัดสินใจต่าง ๆ เพื่อให้การทำงานซ้ำ ๆ ทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ ลดข้อผิดพลาดในการทำงานที่เกิดจาก human error และยังสามารถทำงานได้ตลอด...

กฎการทำงานด้านคุณภาพพื้นฐาน 13 ประการ 1. เช็คงานและความถูกต้องของป้าย Kanban (Tag and Traceability) 2. ทำงานให้จบขั้นก่อนก่อนทำการพักเบรค (One stop cycle). 3. ติดป้ายบ่งชี้ (Tag Identification) 4. ห้ามพูดคุยกัน หรือ โทรศัพท์ขณะกำลังปฏิบัติงาน (No cell phone during working) 5. แยกงานใส่กล่องแดง ติดป้ายสีแดง หรือ เขียนบ่งชี้ของเสียที่งาน (Control of Non- Conformity Product) 6. ตรวจสอบงานหัว กลาง ท้าย (First Middle End) 7. พี้นที่ปฎิบัติงานควรมีแต่อุปกรณ์สำหรับ ทำงาน ไม่ควรมีของกิน หรือน้ำบนโต๊ะทำงานหรือประกอบชิ้นงาน (Work station) 8. ปฎิบัติตามคู่มือการทำงาน...

ประเภทการตรวจติดตามชนิดต่างๆ (Types of audit)   การตรวจสอบระบบ (System Audit) การตรวจสอบประสิทธผลโดยรวมของระบบการจัดการอาจจะขึ้นอยู่กับมาตรฐานการจัดการเช่น การตรวจสอบระบบการจัดการคุณภาพ  (ISO9001)– ตรวจสอบระบบการจัดการด้านคุณภาพโดยตรวจสอบทุกกระบวนการที่อยู่ในองค์กร การตรวจสอบระบบการจัดการคุณภาพ (IATF16949) - ตรวจสอบระบบการจัดการด้านคุณภาพสำหรับมาตรฐานอุตสาหกรรมยานยนต์ ถึงจะมีข้อกำหนดทางด้าน  Technical Specification  เพิ่มเติมจากมาตรฐานการจัดการด้านคุณภาพทั่วไป ระบบตรวจสอบสิ่งแวดล้อม (ISO14001) - ตรวจสอบระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม ระบบตรวจสอบความปลอดภัยของอาหาร (ISO2200)- ตรวจสอบระบบการจัดการความปลอดภัยของอาหาร ระบบตรวจสอบความปลอดภัย (ISO45001)– ตรวจสอบระบบการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย     การตรวจสอบกระบวนการ (Process audit) การตราจสอบประสิทธิผลของกระบวนการสร้างผลิตภัณฑ์ โดยปกติจะตรวจกระบวนการที่อยู่ใน Control plan ตั้งแต่กระบวนการรับวัตถุดิบ จนไปถึงกระบวนการจัดส่งผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปให้กับลูกค้า   การตรวจสอบผลิตภัณฑ์ (Product audit) เป็นการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ว่าเป็นไปตามข้อกำหนดที่กำหนดไว้ตลอดกระบวนการผลิตและจัดส่ง ซี่งโดยปกติก็จะสุ่มตรวจสอบขนาดมิติของชิ้นงาน สภาพผิวชิ้นงาน ป้าย การเพจกิ้ง รวมถึง Functionการใช้งาน   การตรวจสอบ ณ จุด Load งานก่อนส่งมอบสินค้า (Dock audit) การตรวจสอบ ณ...